ทำได้โดย
ให้ถอดไส้กรองออกมาทำความสะอาด โดยนำมาล้างกากสิ่งสกปรกออกและเป่าให้แห้ง
ให้ทำทุกๆ 6 เดือน
ตรวจสอบมาตรวัดความดันแก๊ส (Pressure Gauge)
ทำได้โดย
ตรวจสอบโดยใช้น้ำยาทดสอบรอยรั่ว ฉีดไปตรงตำแหน่งข้อต่อต่างๆของอุปกรณ์
ให้ตรวจสอบทุกๆ 1 สัปดาห์
ตรวจสอบหัวปรับความดันแก๊ส (Pressure Regulator)
ทำได้โดย
ตรวจสอบโดยใช้น้ำยาทดสอบรอยรั่ว ฉีดไปตรงตำแหน่งข้อต่อต่างๆของอุปกรณ์
ให้ตรวจสอบทุกๆ 1 สัปดาห์
ตรวจสอบวาล์วปิดฉุกเฉิน (Emergency Shut-Off Valve)
ทำได้โดย
ตรวจสอบโดยใช้น้ำยาทดสอบรอยรั่ว ฉีดไปตรงตำแหน่งข้อต่อต่างๆของอุปกรณ์
ให้ตรวจสอบทุกๆ 1 สัปดาห์
ตรวจสอบ Ball Valve
ทำได้โดย
ตรวจสอบโดยใช้น้ำยาทดสอบรอยรั่วฉีดไปตรงตำแหน่งแกนของวาล์วปิด-เปิด และบริเวณข้อต่อต่างๆของอุปกรณ์
ให้ตรวจสอบทุกๆ 1 สัปดาห์
ตรวจสอบ Y-Strainer
ทำได้โดย
ตรวจสอบโดยใช้น้ำยาทดสอบรอยรั่วฉีดไปตรงตำแหน่งข้อต่อต่างๆของอุปกรณ์
ให้ตรวจสอบทุกๆ 1 สัปดาห์
ตรวจสอบมาตรวัดความดันแก๊ส (Pressure Gauge)
ทำได้โดย
ให้ สังเกตเข็มชี้บอกค่าความดันแก๊สในระบบท่อ ขณะที่มีความดันแก๊ส เข็มชี้จะต้องไม่ชี้ไปที่ค่าใดค่าหนึ่งตลอดเวลา และเมื่อความดันแก๊สมีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นหรือลดลง เข็มชี้ก็จะต้องเพิ่มขึ้นหรือลดลงตามไปด้วย
ให้ตรวจสอบทุกๆ 1 สัปดาห์
ตรวจสอบวาล์วนิรภัยความดัน (Pressure Relief Valve)
ทำได้โดย
ตรวจสอบโดยใช้น้ำยาทดสอบรอยรั่ว ฉีดไปตรงตำแหน่งข้อต่อต่างๆของอุปกรณ์
ให้ตรวจสอบทุกๆ 1 สัปดาห์
ตรวจสอบวาล์วปิดฉุกเฉิน (Emergency Shut-Off Valve)
ทำได้โดย
ให้ทดสอบการปิดของวาล์วฉุกเฉินโดยดึงสายสลิงแล้วสังเกตดูว่าวาล์วจะต้องปิดได้ทันที
ให้ตรวจสอบทุกๆ 1 สัปดาห์
ตรวจสอบชุดกรอง (Oil Trap)
ทำได้โดย
ตรวจสอบโดยใช้น้ำยาทดสอบรอยรั่ว ฉีดไปตรงตำแหน่งข้อต่อต่างๆของอุปกรณ์
ให้ตรวจสอบทุกๆ 1 สัปดาห์
ตรวจสอบชุดกรอง (Oil Trap)
ข้อควรระวัง
ในขณะที่ทำการ Drain แก๊สให้ระวังแก๊สพุ่งกระจายออกมา
ก่อนทำการ Drain ต้องตรวจสอบพื้นที่บริเวณรอบๆ ไม่ให้มีสิ่งอื่นใดที่จะก่อให้เกิดประกายไฟโดยเด็ดขาด
ตรวจสอบหม้อต้มแก๊ส (Vaporizer)
ทำได้โดย
ตรวจสอบโดยใช้น้ำยาทดสอบรอยรั่ว ฉีดไปตรงตำแหน่งข้อต่อต่างๆของอุปกรณ์
ให้ตรวจสอบทุกๆ 1 สัปดาห์
ตรวจสอบเครื่องตรวจจับแก๊สรั่ว (Gas Detector)
ทำได้โดย
ใช้แก๊ส Propane ปล่อยให้โดนที่หัว Sensor แล้วสังเกตที่ Gas Monitor จะแสดงปริมาณที่จับได้เป็นเปอร์เซ็นต์
เมื่อ ปริมาณแก๊สที่จับได้มีความเข้มข้นเพิ่มขึ้นจาก 0-100% ตัว Gas Monitor จะส่งเสียงเตือนออกมา เมื่อกดสวิทซ์ Reset เสียงจะต้องดับลงทันที เข็มที่วัดจะตกลงมาเป็นศูนย์อีกครั้ง ขึ้นอยู่กับความหนาแน่นของแก๊สที่จับได้
ทำได้โดย
ให้ทดสอบการปิดของวาล์วฉุกเฉินโดยดึงสายสลิงแล้วสังเกตดูว่าวาล์วจะต้องปิดได้ทันที
ให้ตรวจสอบทุกๆ 1 สัปดาห์
ตรวจสอบชุดกรอง (Oil Trap)
ทำได้โดย
ตรวจสอบโดยใช้น้ำยาทดสอบรอยรั่ว ฉีดไปตรงตำแหน่งข้อต่อต่างๆของอุปกรณ์
ให้ตรวจสอบทุกๆ 1 สัปดาห์
ตรวจสอบชุดกรอง (Oil Trap)
ข้อควรระวัง
ในขณะที่ทำการ Drain แก๊สให้ระวังแก๊สพุ่งกระจายออกมา
ก่อนทำการ Drain ต้องตรวจสอบพื้นที่บริเวณรอบๆ ไม่ให้มีสิ่งอื่นใดที่จะก่อให้เกิดประกายไฟโดยเด็ดขาด
ตรวจสอบหม้อต้มแก๊ส (Vaporizer)
ทำได้โดย
ตรวจสอบโดยใช้น้ำยาทดสอบรอยรั่ว ฉีดไปตรงตำแหน่งข้อต่อต่างๆของอุปกรณ์
ให้ตรวจสอบทุกๆ 1 สัปดาห์
ตรวจสอบเครื่องตรวจจับแก๊สรั่ว (Gas Detector)
ทำได้โดย
ใช้แก๊ส Propane ปล่อยให้โดนที่หัว Sensor แล้วสังเกตที่ Gas Monitor จะแสดงปริมาณที่จับได้เป็นเปอร์เซ็นต์
เมื่อ ปริมาณแก๊สที่จับได้มีความเข้มข้นเพิ่มขึ้นจาก 0-100% ตัว Gas Monitor จะส่งเสียงเตือนออกมา เมื่อกดสวิทซ์ Reset เสียงจะต้องดับลงทันที เข็มที่วัดจะตกลงมาเป็นศูนย์อีกครั้ง ขึ้นอยู่กับความหนาแน่นของแก๊สที่จับได้
0 comments:
Post a Comment